แผ่นดินไหวในสมัยต่างๆ
สมัยก่อนสุโขทัย (ก่อน พ.ศ.1781)- เมืองแถน (เมืองเดียนเบียนฟูในเวียดนามเหนือ)
- หริภุญไชย (ลำพูน) พ.ศ.500 พระมหาปราสาทโอนไปเป็นหลายที
- โยนกนคร พ.ศ.480,481,510,515,1003,1077
“....สุริยะ อาทิตย์ก็ตกไปแล้ว ก็ได้ยินเสียงเหมือนดั่งแผ่นดินดังสนั่นหวั่นไหว ประดุจดังว่าเวียงโยนกนครหลวงที่นี้จักเกลื่อนจักพังไปนั้นแล แล้วก็หายไปครึ่งหนึ่ง ครั้นถึงมัชฌิมยามก็ซ้ำดังมาเป็นคำรบสองแล้วก็หายนั้นแล ถึงบัวฉิมยาม ก็ซ้ำดังมาเป็นคำรบสาม หนที่สามนี้ดังยิ่งกว่าทุกครั้งทุกคราวที่ได้ยินมาแล้ว กาลนั้นเวียงโยนกนครหลวงที่นั้นก็ยุบจมลงเกิดเป็นหนองอันใหญ่”
สมัยสุโขทัย (พ.ศ.1781-1893)
- สุโขทัย พ.ศ.1860 สมัยพญาลิไท
- สุโขทัย พ.ศ.1905,1909
- เชียงใหม่ พ.ศ.2025,พ.ศ. 2088 ยอดเจดีย์หลวงสูง 86 เมตร พังลงมาเหลือ 60 เมตร
- อยุธยา พ.ศ.2048,2070,2089,2127,2131,2132,2228
- น่าน พ.ศ.2103เจดีย์หลวง สูง 17 วา กว้าง 10 วา หักพังลง
- ย่างกุ้ง,พม่า พ.ศ.2111,2172พระเจดีย์เมืองร่างกุ้งเกิดความเสียหาย
- เชียงใหม่ พ.ศ.2088ยอดเจดีย์หลวงสูง 86 เมตร พังลงมาเหลือ 60 เมตร
สมัยอยุธยา (พ.ศ.1893-2311)
- กำแพงเพชร พ.ศ.2127
- เชียงแสน พ.ศ.2247,2258,2260 พ.ศ.2258 พระเจดีย์วิหารหักพังทลาย 4 ตำบล
- หงสาวดี,พม่า พ.ศ.2300 ฉัตรยอดพระเจดีย์มุตางหักลงมา
สมัยกรุงธนบุรี (พ.ศ.2311-2325)
- กรุงเทพฯ พ.ศ.2311,2312
- เชียงใหม่ พ.ศ.2317
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.2325-ปัจจุบัน)
- สมัยรัชกาลที่1 - หลวงพระบาง พ.ศ.2335 น่าน พ.ศ.2336,2342,2344
- สมัยรัชกาลที่2 - มณฑลยูนาน พ.ศ.2367 ประชาชนชาวจีนเสียชีวิต 2,000 คน ,น่าน พ.ศ.2363 ยอดมหาธาตุเจ้าภูเวียงแช่แห้ง ก็หักลงห้อยอยู่
- สมัยรัชกาลที่3 กรุงเทพฯ พ.ศ.2375,2376,2378 น้ำในแม่น้ำกระฉอกออกมา, พม่า พ.ศ.2382
- สมัยรัชกาลที่4 กรุงเทพฯ พ.ศ.2417
- สมัยรัชกาลที่5 กรุงเทพฯ พ.ศ.2429,2430 น่าน พ.ศ.2422
- สมัยรัชกาลที่6 กรุงเทพฯ พ.ศ.2455
- สมัยรัชกาลที่7 กรุงเทพฯ,อยุธยา,จันทบุรี,พิษณุโลก,ราชบุรี,ปราจีนบุรี พ.ศ.2473ศูนย์กลางอยู่ประมาณเมืองพะโค,พม่า
ที่มา http://blog.eduzones.com/anisada/80016